วันพฤหัสบดีที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

หมูสะเต๊ะ สยามแมคโคร ประเทศไทย(สูตรชาววัง)

หมูสะเต๊ะ สยามแมคโคร ประเทศไทย(สูตรชาววัง)

 วางเป้าหมาย เดินคู่ สยามแมคโคร เพราะสินค้าของเรา

 แพคกิ้ง บรรจุใน สยามแมคโคร  รอติดตาม สาขาเร็วนี้

 

สยามแม็คโคร

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี


บริษัท สยามแม็คโคร จำกัด (มหาชน)
ประเภทพาณิชย์
รูปแบบบริษัทมหาชน (SET:MAKRO)
ก่อตั้งเมื่อพฤษภาคม พ.ศ. 2531
สำนักงานใหญ่ชั้น 2, 3498 ถนนลาดพร้าว แขวงคลองจั่น เขตบางกะปิ กทม. [1]
จำนวนที่ตั้ง74 สาขา
อุตสาหกรรมบริการ
หุ้นรวม240,000,000 หุ้น [1]
เว็บไซต์http://www.siammakro.co.th
บทความนี้เกี่ยวกับบริษัทค้าส่งในประเทศไทย สำหรับความหมายอื่นดูที่ แม็คโคร
บริษัท สยามแม็คโคร จำกัด (มหาชน) (อังกฤษ: SIAM MAKRO PUBLIC COMPANY LIMITED ชื่อย่อ:MAKRO)[2] ก่อ ตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2532 โดยธุรกิจหลักของบริษัทฯ คือ การดำเนินธุรกิจศูนย์จำหน่ายสินค้าอุปโภค และบริโภค แบบชำระด้วยเงินสดและบริการตนเอง โดยจดทะเบียนภายใต้ชื่อ “แม็คโคร”
บริษัทฯ ประสบความสำเร็จอย่างต่อเนื่องในการเป็นผู้จำหน่ายสินค้าอุปโภคและบริโภค ในราคาขายส่งให้แก่กลุ่มลูกค้าที่เป็นสมาชิกจำนวนกว่า 2.4 ล้านรายทั่วประเทศ ซึ่งประกอบด้วยกลุ่มผู้ประกอบการร้านค้าปลีกรายย่อย ผู้ประกอบการธุรกิจโรงแรม ภัตตาคาร ร้านอาหาร และธุรกิจจัดเลี้ยง (โฮเรก้า) สถาบันการศึกษา และสำนักงานต่างๆ ปัจจุบันแม็คโครมีสาขารวม 74 แห่งทั่วประเทศ [3] และ เพื่อเพิ่มความเป็นมืออาชีพด้านผู้บริการอาหาร และวัตถุดิบ ได้เปิดสาขาในชื่อ แม็คโคร ฟูดเซอร์วิส (Makro Foodservice) ที่หัวหิน เป็นแห่งแรกของประเทศไทย

ประวัติ[แก้]

บริษัทประกอบธุรกิจศูนย์จำหน่ายสินค้าแบบชำระเงินสดและบริการตนเอง จำหน่ายสินค้าอุปโภคบริโภคให้แก่ลูกค้าที่เป็นสมาชิกบัตรของแม็คโคร โดยเป็นบริษัทในกลุ่มเอสเอชวีจากประเทศเนเธอร์แลนด์ ซึ่ง ดำเนินธุรกิจหลากหลายประเภททั่วโลก สำหรับแม็คโครในประเทศไทย บริษัทมีสำนักงานใหญ่ในกรุงเทพโดยได้เปิดห้างแม็คโคร สาขาแรก คือ สาขาลาดพร้าวในปี 2532 โดยสิ้นปี 2555 บริษัทมีสาขารวมทั้งสิ้น 57 สาขา และร้านจำหน่ายอาหารแช่แข็งขนาดเล็ก “สยามโฟรเซ่น” อีก 5 แห่ง[3]

การประกอบธุรกิจ[แก้]

การประกอบธุรกิจแบ่งได้ดังนี้
  • ศูนย์จำหน่ายสินค้าแม็คโคร : เป็นธุรกิจหลักของบริษัท คือการดำเนินธุรกิจศูนย์จำหน่ายสินค้าระบบสมาชิกแบบชำระเงินสดและบริการตน เองภายใต้ชื่อ “แม็คโคร” ซึ่งมีสาขากระจายอยู่ทั่วประเทศ ประกอบด้วยสินค้าอุปโภคบริโภคหลากหลายประเภท นอกจากสินค้าประเภทอุปโภคบริโภคโดยทั่วไปแล้ว บริษัทยังมีการจำหน่ายสินค้าภายใต้เครื่องหมายการค้าของตนเองด้วย [4]
  • ธุรกิจนำเข้าและจำหน่ายสินค้าแช่แข็งและแช่เย็น : ธุรกิจนำเข้าและจำหน่ายสินค้าแช่แข็งและแช่เย็น พร้อมบริการด้านจัดเก็บและจัดส่งโดยบริษัท สยามฟูด เซอร์วิส จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยที่สยามแม็คโครถือหุ้นร้อยละ 99.9 โดยบริษัทเป็นผู้นำในธุรกิจนำเข้าและจำหน่ายผลิตภัณฑ์อาหารคุณภาพสูง พร้อมบริการจัดส่ง รวมถึงให้บริการที่เกี่ยวเนื่องอื่นๆ แก่ผู้ประกอบการธุรกิจด้านอาหาร และผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมที่เกี่ยวกับโรงแรมและการบริการนักท่องเที่ยว รวมถึงลูกค้าผู้ประกอบการโรงแรม ร้านอาหาร และจัดเลี้ยง (“โฮเรก้า”) โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มผู้ให้บริการอาหารจานด่วน กลุ่มภัตตาคารและโรงแรมระดับ 4-5 ดาว ในเขตกรุงเทพมหานครและแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญต่างๆ ทั่วประเทศ[4]

ผู้ถือหุ้นรายใหญ่[แก้]

  • ข้อมูลผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ณ วันที่ 21 มิถุนายน 2556 [5]
ลำดับที่รายชื่อผู้ถือหุ้นจำนวนหุ้นสามัญสัดส่วนการถือหุ้น
1บริษัท สยามแม็คโคร โฮลดิ้ง (ประเทศไทย) จำกัด132,015,14055.01%
2SHV NEDERLAND B.V.22,414,3609.34%
3บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จำกัด12,474,6385.20%
4สำนักงานประกันสังคม (2 กรณี)6,737,1002.81%
5บริษัท ซีพี ออลล์ จำกัด (มหาชน)4,305,6001.79%

สาขา[แก้]

กรุงเทพมหานครและปริมณฑล[แก้]

ภาคกลาง[แก้]

ภาคตะวันออก[แก้]

ภาคเหนือ[แก้]

ภาคอีสาน[แก้]

ภาคใต้[แก้]

อ้างอิง[แก้]









  1.  กระโดดขึ้นไป:1.0 1.1
  2.  
  3.  คุณภาพสินค้า เท่าเทียม 
  4.  
  5. สยามแมคโคร 
  6.  
  7.  
  8. ประเทศไทย
  9.  

2 ความคิดเห็น: