วันพฤหัสบดีที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

หมูสะเต๊ะ สยามแมคโคร ประเทศไทย(สูตรชาววัง) เปิดทุกสาขา ที่มีแม็คโคร เร็วๆนี้

หมูสะเต๊ะ สยามแมคโคร ประเทศไทย(สูตรชาววัง)



 วางเป้าหมาย เดินคู่ สยามแมคโคร เพราะสินค้าของเรา

 แพคกิ้ง บรรจุใน สยามแมคโคร  รอติดตาม สาขาเร็วนี้

 

สยามแม็คโคร

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี


บริษัท สยามแม็คโคร จำกัด (มหาชน)
ประเภทพาณิชย์
รูปแบบบริษัทมหาชน (SET:MAKRO)
ก่อตั้งเมื่อพฤษภาคม พ.ศ. 2531
สำนักงานใหญ่ชั้น 2, 3498 ถนนลาดพร้าว แขวงคลองจั่น เขตบางกะปิ กทม. [1]
จำนวนที่ตั้ง74 สาขา
อุตสาหกรรมบริการ
หุ้นรวม240,000,000 หุ้น [1]
เว็บไซต์http://www.siammakro.co.th
บทความนี้เกี่ยวกับบริษัทค้าส่งในประเทศไทย สำหรับความหมายอื่นดูที่ แม็คโคร
บริษัท สยามแม็คโคร จำกัด (มหาชน) (อังกฤษ: SIAM MAKRO PUBLIC COMPANY LIMITED ชื่อย่อ:MAKRO)[2] ก่อ ตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2532 โดยธุรกิจหลักของบริษัทฯ คือ การดำเนินธุรกิจศูนย์จำหน่ายสินค้าอุปโภค และบริโภค แบบชำระด้วยเงินสดและบริการตนเอง โดยจดทะเบียนภายใต้ชื่อ “แม็คโคร”
บริษัทฯ ประสบความสำเร็จอย่างต่อเนื่องในการเป็นผู้จำหน่ายสินค้าอุปโภคและบริโภค ในราคาขายส่งให้แก่กลุ่มลูกค้าที่เป็นสมาชิกจำนวนกว่า 2.4 ล้านรายทั่วประเทศ ซึ่งประกอบด้วยกลุ่มผู้ประกอบการร้านค้าปลีกรายย่อย ผู้ประกอบการธุรกิจโรงแรม ภัตตาคาร ร้านอาหาร และธุรกิจจัดเลี้ยง (โฮเรก้า) สถาบันการศึกษา และสำนักงานต่างๆ ปัจจุบันแม็คโครมีสาขารวม 74 แห่งทั่วประเทศ [3] และ เพื่อเพิ่มความเป็นมืออาชีพด้านผู้บริการอาหาร และวัตถุดิบ ได้เปิดสาขาในชื่อ แม็คโคร ฟูดเซอร์วิส (Makro Foodservice) ที่หัวหิน เป็นแห่งแรกของประเทศไทย

ประวัติ[แก้]

บริษัทประกอบธุรกิจศูนย์จำหน่ายสินค้าแบบชำระเงินสดและบริการตนเอง จำหน่ายสินค้าอุปโภคบริโภคให้แก่ลูกค้าที่เป็นสมาชิกบัตรของแม็คโคร โดยเป็นบริษัทในกลุ่มเอสเอชวีจากประเทศเนเธอร์แลนด์ ซึ่ง ดำเนินธุรกิจหลากหลายประเภททั่วโลก สำหรับแม็คโครในประเทศไทย บริษัทมีสำนักงานใหญ่ในกรุงเทพโดยได้เปิดห้างแม็คโคร สาขาแรก คือ สาขาลาดพร้าวในปี 2532 โดยสิ้นปี 2555 บริษัทมีสาขารวมทั้งสิ้น 57 สาขา และร้านจำหน่ายอาหารแช่แข็งขนาดเล็ก “สยามโฟรเซ่น” อีก 5 แห่ง[3]

การประกอบธุรกิจ[แก้]

การประกอบธุรกิจแบ่งได้ดังนี้
  • ศูนย์จำหน่ายสินค้าแม็คโคร : เป็นธุรกิจหลักของบริษัท คือการดำเนินธุรกิจศูนย์จำหน่ายสินค้าระบบสมาชิกแบบชำระเงินสดและบริการตน เองภายใต้ชื่อ “แม็คโคร” ซึ่งมีสาขากระจายอยู่ทั่วประเทศ ประกอบด้วยสินค้าอุปโภคบริโภคหลากหลายประเภท นอกจากสินค้าประเภทอุปโภคบริโภคโดยทั่วไปแล้ว บริษัทยังมีการจำหน่ายสินค้าภายใต้เครื่องหมายการค้าของตนเองด้วย [4]
  • ธุรกิจนำเข้าและจำหน่ายสินค้าแช่แข็งและแช่เย็น : ธุรกิจนำเข้าและจำหน่ายสินค้าแช่แข็งและแช่เย็น พร้อมบริการด้านจัดเก็บและจัดส่งโดยบริษัท สยามฟูด เซอร์วิส จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยที่สยามแม็คโครถือหุ้นร้อยละ 99.9 โดยบริษัทเป็นผู้นำในธุรกิจนำเข้าและจำหน่ายผลิตภัณฑ์อาหารคุณภาพสูง พร้อมบริการจัดส่ง รวมถึงให้บริการที่เกี่ยวเนื่องอื่นๆ แก่ผู้ประกอบการธุรกิจด้านอาหาร และผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมที่เกี่ยวกับโรงแรมและการบริการนักท่องเที่ยว รวมถึงลูกค้าผู้ประกอบการโรงแรม ร้านอาหาร และจัดเลี้ยง (“โฮเรก้า”) โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มผู้ให้บริการอาหารจานด่วน กลุ่มภัตตาคารและโรงแรมระดับ 4-5 ดาว ในเขตกรุงเทพมหานครและแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญต่างๆ ทั่วประเทศ[4]

ผู้ถือหุ้นรายใหญ่[แก้]

  • ข้อมูลผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ณ วันที่ 21 มิถุนายน 2556 [5]
ลำดับที่รายชื่อผู้ถือหุ้นจำนวนหุ้นสามัญสัดส่วนการถือหุ้น
1บริษัท สยามแม็คโคร โฮลดิ้ง (ประเทศไทย) จำกัด132,015,14055.01%
2SHV NEDERLAND B.V.22,414,3609.34%
3บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จำกัด12,474,6385.20%
4สำนักงานประกันสังคม (2 กรณี)6,737,1002.81%
5บริษัท ซีพี ออลล์ จำกัด (มหาชน)4,305,6001.79%

สาขา[แก้]

กรุงเทพมหานครและปริมณฑล[แก้]

ภาคกลาง[แก้]

ภาคตะวันออก[แก้]

ภาคเหนือ[แก้]

ภาคอีสาน[แก้]

ภาคใต้[แก้]

อ้างอิง[แก้]









  1.  กระโดดขึ้นไป:1.0 1.1
  2.  
  3.  คุณภาพสินค้า เท่าเทียม 
  4.  
  5. สยามแมคโคร 
  6.  
  7.  
  8. ประเทศไทย
  9.  

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น